ค้นหาสมุนไพร  
     
   
   
   
     
 
   
eherb ผลการค้นหา สาดแหลง, ตองสาด, สาดเฮียะ, สาดขาว, ต๋องจื๋ง
สาดแหลง, ตองสาด, สาดเฮียะ, สาดขาว, ต๋องจื๋ง
Phrynium imbricatum Roxb.
 
 
 
 
 
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์
 
  วงศ์ Marantaceae
 
  ชื่อวิทยาศาสตร์ Phrynium imbricatum Roxb.
 
  ชื่อไทย สาดแหลง, ตองสาด, สาดเฮียะ, สาดขาว, ต๋องจื๋ง
 
  ชื่อท้องถิ่น หล่อ(ลั้วะ), ใบตอง(ลั้วะ), บล้งเจ่นต่ง(ม้ง), ตองสาด(คนเมือง), ตองจิ๋ง(ไทใหญ่,ขมุ), ตะเห็บแหง่ง(เมี่ยน), ตาเห็บยั้ง(เมี่ยน), สะลอเนิ้ด(ลั้วะ)
 
  ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ -
 
  ใบ -
 
  ดอก -
 
  ผล -
 
  สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ - ลำต้น ใช้เป็นเชือกมัดของ(ลั้วะ)
- หัวใต้ดิน นำมาฝนให้ได้น้ำ ดื่มน้ำช่วยให้สร่างเมา หรือ นำมาต้มรวมกับรากรางจืด รากส้านเห็บ ดื่มเพื่อใช้ขับพิษ แก้อาการแพ้ต่างๆ(คนเมือง)
- ลำต้น ตากแห้ง แล้วเอาไปสานเสื่อ(คนเมือง)
ลำต้น ผ่าเป็นซีกตากแห้งแล้วนำไปทำเครื่องจักสาน(เมี่ยน)
- ใบ ใช้ห่ออาหารที่ต้องการนำไปหมก(ลั้วะ)
ก้านใบ ฉีกเป็นเส้นๆ ใช้สานเสื่อได้(ลั้วะ)
ใบ ใช้ห่ออาหาร(ลั้วะ,ไทใหญ่)
ใบ ใช้ห่อขนมหรือห่ออาหาร(ม้ง)
ใบ ใช้ห่อขนมช่วยให้ขนมไม่ติดห่อ(เมี่ยน,ขมุ)
ใบ นำมารองไหหมักเมี่ยง หรือใช้ห่อขนม มีประโยชน์ ช่วยดูดซับน้ำ(คนเมือง)
 
  อ้างอิง เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
 
  สภาพนิเวศ -
 
  เอกสารประกอบ
 
ภาพนิ่ง